เว็บไซต์กรมปศุสัตว์เว็บไซต์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

Follow us on Facebook Follow us on YouTube Follow us on Rss

A- A A+
การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรกรณี โค-กระบือเกิดโรคลัมปี สกิน




สถิติการบันทึกอาสาปศุสัตว์ ประจำวันที่ 25 มีนาคม 2564
วันอังคาร, 25 พฤษภาคม 2564
ข้อมูล ณ วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2564 จังหวัด บันทึกในระบบ ร้อยละการบันทึกข้อมูล (ราย) รวม 77 จังหวัด 55,088 0 กระบี่ 203 0... Read More...
ประกาศ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ เรื่อง รายชื่อผู้ผ่านการประเมินสมรรถนะ ลงวันที่ 30 ส.ค. 65
วันอังคาร, 30 สิงหาคม 2565
ประกาศ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ เรื่อง... Read More...
ประกาศ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ เรื่อง รายชื่อผู้ผ่านการประเมินสมรรถนะ ลงวันที่ 7 มิ.ย. 65
วันอังคาร, 07 มิถุนายน 2565
ประกาศ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ เรื่อง... Read More...
IMAGE ประกาศ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ เรื่อง รายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินสมรรถนะ
วันอังคาร, 28 ธันวาคม 2564
ประกาศ กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ เรื่อง... Read More...
SPEC กรมปศุสัตว์
วันพุธ, 10 เมษายน 2567
- แบบแปลน คอกแพะ ขนาด 21.50 X 9 เมตร (ฉบับสมบูรณ์)  Read More...
แบบฟอร์มสำรวจข้อมูลฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่
วันอาทิตย์, 30 พฤษภาคม 2564
ดาวน์โหลด <แบบฟอร์มสำรวจข้อมูลฟาร์มเลี้ยงไก่ไข่>... Read More...
แบบฟอร์มการสำรวจข้อมูลฟาร์มเลี้ยงสุกร
วันอาทิตย์, 30 พฤษภาคม 2564
ดาวน์โหลด <แบบฟอร์มการสำรวจข้อมูลฟาร์มเลี้ยงสุกร>... Read More...
รายละเอียดคุณลักษณะ ศพก.
วันศุกร์, 05 มิถุนายน 2563
คลิกเพื่อดาวน์โหลด >> รายละเอียดคุณลักษณะ... Read More...
แบบแปลนโคเนื้อ
วันจันทร์, 24 เมษายน 2560
คลิกเพื่อดาวน์โหลด แบบแปลนโคเนื้อ Read More...
คอกแพะ ขนาด 6x12 เมตร
วันจันทร์, 24 เมษายน 2560
คลิกเพื่อดาวน์โหลด คอกแพะ ขนาด 6x12 เมตร Read More...
โครงการก่อสร้างโรงฆ่าแพะระดับชุมชน ขนาด 4x16 เมตร
วันจันทร์, 24 เมษายน 2560
คลิกเพื่อดาวน์โหลด... Read More...
คำอธิบายสาระสำคัญของพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑ์นม พ.ศ.2551
วันจันทร์, 07 มิถุนายน 2564
โดย..องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย... Read More...
ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการดำเนินการ ธนาคารโค-กระบือ พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์, 06 มิถุนายน 2564
ดาวน์โหลด>>ระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการดำเนินการ... Read More...
คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้ ปี พ.ศ.2557
วันจันทร์, 21 กรกฎาคม 2557
คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้ ปี พ.ศ.2557 Read More...
ขั้นตอนการจัดสรรโควตานำเข้านมผงขาดมันเนย
วันพฤหัสบดี, 17 เมษายน 2557
คลิกเพื่อดาวน์โหลด... Read More...
ขั้นตอนการวิเคราะห์เศรษฐกิจปศุสัตว์
วันพฤหัสบดี, 17 เมษายน 2557
คลิกเพื่อดาวน์โหลด... Read More...

 วีดีทัศน์ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ด้านปศุสัตว์ดีเด่น ปี 2563

 บทความ
 ไอคอนลิงค์

ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน

  

ประวัติสำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

               งานส่งเสริมด้านปศุสัตว์มีความสำคัญต่อการพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรไทย กรมปศุสัตว์เริ่มดำเนินงานส่งเสริมด้านการเลี้ยงสัตว์มาตั้งแต่ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ.2495        เมื่อมีพระรากฤษฎีกาจัดระบบราชการกรมการปศุสัตว์ในสังกัดกระทรวงเกษตร โดยให้จัดตั้งกองส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ขึ้น ต่อมาเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2516 ได้เปลี่ยนชื่อกองส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์เป็นกองบำรุงพันธุ์สัตว์ ซึ่งการดำเนินการส่งเสริมระยะแรกจะเน้นการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ของเกษตรกร โดยจัดหาสัตว์พ่อพันธุ์ (โค กระบือ สุกร) ไว้ให้บริการผสมพันธุ์กับสัตว์ของเกษตรกร โดยเกษตรกรจะนำสัตว์แม่พันธุ์ของตนเองมาผสมกับพ่อพันธุ์ของทางราชการตามสถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ ซึ่งวิธีดังกล่าวปรากฏว่าสัตว์แม่พันธุ์ของเกษตรกรได้รับการผสมพันธุ์น้อย เนื่องจากเกษตรกรไม่สะดวกที่จะขนสัตว์แม่พันธุ์มาผสมพันธุ์ที่สถานีบำรุงพันธุ์สัตว์ โดยเฉพาะโค กระบือ ซึ่งเป็นสัตว์ใหญ่

               ปี พ.ศ. 2509 กองส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์ได้จัดตั้งหน่วยตอนและแพร่พันธุ์สัตว์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์และการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ของเกษตรกร โดยวิธีการจัดตั้งเป็นกลุ่มผู้เลี้ยงโค หรือ กลุ่มผู้เลี้ยงกระบือ มีการคัดเลือกประธานกลุ่ม และกรรมการบริหารกลุ่ม เพื่อทำหน้าที่บริหารจัดการกลุ่ม และควบคุม ดูแล โคพ่อพันธุ์ หรือกระบือพ่อพันธุ์ ในการให้บริการผสมพันธุ์กับแม่โคหรือแม่กระบือของสมาชิกกลุ่มและเกษตรกรทั่วไป และเป็นผู้ประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่กับกลุ่มเกษตรกร มีการประชุมกลุ่ม มีการตอนโค หรือ กระบือเพศผู้ที่มีลักษณะที่ไม่ดี เพื่อไม่ให้ขยายพันธุ์ มีการเจาะเลือดเพื่อตรวจโรงแท้งติดต่อ (Brucellosis) กับแม่โค แม่กระบือ ก่อนที่จะนำมาผสมกับพ่อพันธุ์แล้วจึง นำพ่อพันธุ์ไปให้กลุ่มเกษตรกรยืมเพื่อใช้ผสมพันธุ์ในการปรับปรุงพันธุ์โค กระบือ ของเกษตรกรสมาชิกในกลุ่ม และเกษตรกรทั่วไป โดยใช้เวลา 3 ปี ก็จะหมุนเวียน ปรับเปลี่ยนพ่อพันธุ์เพื่อป้องกันปัญหาการผสมแบบเลือดชิด (Inbreed) ระหว่างพ่อพันธุ์กับลูกโคที่เกิดขึ้น แต่การส่งเสริมโดยการจัดตั้งเป็นกลุ่มผู้เลี้ยงโค กระบือ ยังมีจำนวนจำกัด เนื่องจากขาดสัตว์พ่อพันธุ์และอัตรากำลังเจ้าหน้าที่

ปี พ.ศ.2515 กรมปศุสัตว์ได้จัดทำโครงการเร่งรัดผลผลิต เพื่อส่งเสริมและเร่งรัดการผลิต โค กระบือ พันธุ์ดีแก่เกษตรกร โดยจัดหาพ่อโค พ่อกระบือที่มีลักษณะที่ดี ไปให้กลุ่มผู้เลี้ยงโค กระบือ ยืมเพื่อใช้ผสมพันธุ์ในการปรับปรุงพันธุ์โค กระบือของเกษตรกรสมาชิกในกลุ่ม และเกษตรกรทั่วไป มีการฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์แก่เกษตรกร แต่การส่งเสริมด้านอาหารสัตว์ยังไม่มีการส่งเสริมอย่างจริงจัง

ปี พ.ศ. 2518 กรมปศุสัตว์ได้จัดทำโครงการพัฒนาการปศุสัตว์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยของกู้เงินจากธนาคารโลกจำนวน 100 ล้านบาท สมทบกับงบประมาณของประเทศไทยจำนวน 131 ล้านบาท มีระยะการดำเนินโครงการ 5 ปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะส่งเสริมพัฒนาการเลี้ยงโค กระบือของเกษตรกรแบบเบ็ดเสร็จ โดยเน้นเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีจำนวนโค กระบือ มีปริมาณมากกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนโค กระบือทั้งประเทศ เพื่อสร้างระบบการส่งเสริมพัฒนาการปศุสัตว์ และใช้เป็นตัวอย่างสำหรับการส่งเสริมพัฒนาการปศุสัตว์และขยายผลไปยังภาคอื่นๆ ต่อไป โครงการฯ ได้รับอนุมัติและลงนามสัญญาเงินกู้กับธนาคารโลก (World Bank) เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 และเริ่มดำเนินงานตามโครงการจริงๆ ในปี พ.ศ.2520 โดยมีรูปแบบการส่งเสริมในลักษณะเป็นรายบุคคล เป็นกลุ่ม แบบมวลชน และแบบผสม แต่จะเน้นหนักในรูปแบบลักษณะการจัดตั้งเป็นกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์ และดำเนินการส่งเสริมทุกด้านตั้งแต่ด้านการปรับปรุงพันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์ด้านอาหารสัตว์และการปลูกพืชอาหารสัตว์ ด้านการป้องกันและกำจัดโรค ด้านบริหารจัดการฟาร์ม ด้านการตลาด และด้านการศึกษาวิจัย จนถึงสิ้นเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2525 โครงการดังกล่าวได้สิ้นสุดลง

วันที่ 22 เมษายน พ.ศ.2522 รัฐบาลได้ให้ความสำคัญของการส่งเสริมด้านปศุสัตว์อย่างจริงจัง จึงได้จัดตั้งกองส่งเสริมการปศุสัตว์ขึ้นในกรมปศุสัตว์ โดยได้กำหนดให้อัตรากำลังฝ่ายส่งเสริมและพัฒนา

ปศุสัตว์ประจำสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด เพื่อทำหน้าที่ทางด้านวิชาการส่งเสริมและปฏิบัติงานส่งเสริมด้าน

ปศุสัตว์ในพื้นที่ระดับจังหวัด ตามนโยบายที่กรมปศุสัตว์กำหนด หลังจากสิ้นสุดโครงการพัฒนาการปศุสัตว์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กองส่งเสริมการปศุสัตว์จึงได้รับอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ส่งเสริมและนำรูปแบบวิธีการส่งเสริมด้านปศุสัตว์ตามที่โครงการพัฒนาการปศุสัตว์ภาคตะวันนออกเฉียงเหนือปฏิบัติมาเป็นแนวทางการปฏิบัติงานการส่งเสริมด้านปศุสัตว์ของกรมปศุสัตว์ ต่อมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ได้มีการปรับโครงสร้างระบบราชการและได้เปลี่ยนชื่อกองส่งเสริมการปศุสัตว์ เป็นสำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี ทำหน้าที่ศึกษาวิจัย แนะนำ เผยแพร่ความรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านปศุสัตว์สู่เกษตรกรและบุคคลทั่วไป
                 วันที่ 22 ธันวาคม 2554 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศใช้กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.2554 ออกตามราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 129 ตอนที่ 3 ก ลงวันที่ 6 มกราคม 2555 ปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการและอำนาจหน้าที่ของกรมปศุสัตว์ โดยเปลี่ยนชื่อสำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี เป็นสำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ รวมทั้งปรับปรุงอำนาจหน้าที่เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจที่เพิ่มขึ้น และเหมาะสมกับสภาพของงานที่เปลี่ยนแปลงไป โดยกำหนดให้สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ มีอำนาจหน้าที่ดังนี้

1.ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย บริหารจัดการส่งเสริมและพัฒนาระบบการผลิตปศุสัตว์ครบวงจรและกำหนดเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับพื้นที่

2.ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และเศรษฐกิจการปศุสัตว์ ทั้งด้านการผลิตและการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ

3.ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเหมาะสม แก่ผู้ประกอบการ เกษตรกรเครือข่ายปศุสัตว์และผู้ที่เกี่ยวข้อง 

4.ศึกษา วิจัย พัฒนา และดำเนินการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ พื้นที่เฉพาะป้องกันและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรด้านการปศุสัตว์

5.ศึกษา และวิเคราะห์ มาตรการทางธุรกิจ ความร่วมมือทางการค้า และทางวิชาการ ข้อตกลงผลกระทบ กฎและระเบียบระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ

6.ดำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการคณะกรรมการด้านการปศุสัตว์

7.จัดทำแผนประชาสัมพันธ์และการผลิตสื่อและโสตทัศนูปกรณ์ เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ด้านการปศุสัตว์ของกรม

8.ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

 

ทำเนียบผู้บริหาร

กองส่งเสริมการปศุสัตว์

1.นายวิเชียร ขำนวลทอง

2.นายโสภณ เมืองเจริญ

3. นายสุวิทย์ ผลลาภ

4.นายสิริวัทก์ สโรบล

5.นายอนันต์ ภู่สิทธิกุล

6.นายทองทวี ดีมะการ

7.นายประชุม อินทรโชติ

15 ก.ย.2523  ถึง

10 พ.ย.2525  ถึง

27 ก.พ.2527  ถึง

21 ก.พ.2537  ถึง

9 ม.ค.2539    ถึง

15 ส.ค.2539  ถึง

เม.ย.2542     ถึง

3 พ.ย.2525

27 ก.พ.2527

25 พ.ย.2536

29 ธ.ค.2538

15 ส.ค.2539

28 ธ.ค.2541

12 ธ.ค.2545

 

สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี

9 ตุลาคม 2545

1.นายธวัชชัย อินทรตุล

2.นายทฤษดี ชาวสวนเจริญ

3. นายศิริวัฒน์ อินทรมงคล

4.นายโอภาส ทองยงค์

13 ธ.ค.2545 ถึง

28 พ.ค.2547 ถึง

9 พ.ค.2550   ถึง

23 ธ.ค.2552 ถึง

30 ก.ย.2546

27 ก.พ.2550

23 พ.ย.2552

 5 ม.ค.2555

สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์

22 ธันวาคม 2554

1.นายโอภาส ทองยงค์

2.นายอวยชัย ชัยยุทโธ

3.นายวิวัฒน์ ไชยชะอุ่ม

4.นายวีระสันติ ประทุมพล

6 ม.ค.2555 ถึง

29 ส.ค.2556 ถึง

5 ก.ย.2560 ถึง

5 ก.พ.2567 ถึง

30 ก.ค.2556

 5 ก.ย.2560

30 ก.ย.2566 

ปัจจุบัน


 สำหรับเจ้าหน้าที่
 ผู้กำลังออนไลน์

มี 24 ผู้มาเยือน และ ไม่มีสมาชิกออนไลน์ ออนไลน์

 สถิติผู้เข้าชม
251842
Today
yesterday
217
311